คู่มือการดูแลแม่วัยรุ่นแบบบูรณาการ

คู่มือการดูแลแม่วัยรุ่นแบบบูรณาการ 76 แ นภูมิที่่ � 9: เครือข่ายการมีีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ระยะตั้งครรภ (ไตรมาสที่ 2 และ 3) • ประเมินภาวะเสี่ยง • การปฏิบัติตนตามคําแนะนํา/การสร างสัมพันธภาพ • ติดตามการตรวจครรภ ตามนัด • ทักษะชีวิต/การปรับตัวต อการตั้งครรภ • ป ญหาครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ ระยะหลังคลอด (1-2 สัปดาห และ 4-6 สัปดาห ) : ประเมิน/ติดตาม/ช วยเหลือด านต างๆ ได แก • ภาวะสุขภาพของแม วัยรุ นและลูก • การเลี้ยงลูกด วยนมแม • สัมพันธภาพและการตอบสนองความต องการของลูก • ทักษะการเลี้ยงดูลูก/การเป นแม • การวางแผนครอบครัว/การคุมกําเนิด • การตรวจหลังคลอด • ป ญหาครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ (การทํางาน/ การศึกษา/ความรุนแรง/เหล า บุหรี่ สารเสพติด ฯลฯ) ระยะเลี้ยงดูลูก (0-5 ป ): ประเมิน/ติดตาม/ช วยเหลือด านต างๆ ได แก • ภาวะสุขภาพของแม วัยรุ นและลูก • การเจริญเติบโตและพัฒนาการ/วัคซีน • ทักษะการเลี้ยงดูลูก นมแม และอาหารเสริม • การวางแผนครอบครัว/การคุมกําเนิด • ความรุนแรงในครอบครัว • ป ญหาครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ (การทํางาน/ การศึกษา/ความรุนแรง/เหล า บุหรี่ สารเสพติด ฯลฯ) ระยะคลอด: การมีส วนร วมของสามีหรือ คนในครอบครัวต อการคลอด การให บริการที่ได มาตรฐานขณะอยู ใน สถานบริการสาธารณสุข การติดตาม เยี่ยมบ้าน การประสานงานกับเครือข่าย สหสาขาวิชาชีพ สถานบริการสาธารณสุข* เครือข ายสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด วย • ครอบครัวดั้งเดิม • ชมรม / องค กรในชุมชน • รพช. / รพ.สต. หรือ PCU หรือศูนย บริการสาธารณสุข • อบต. / ศูนย พัฒนาครอบครัวในชุมชน • โรงเรียน / สถานศึกษา • พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย NGO , อื่นๆ ทําหน าที่ • ค นหาป ญหาในพื้นที่ตั้งแต เนิ่นๆ • ส งต อข อมูลและการดูแลแม วัยรุ น • ประสานงานเพื่อติดตามและให การดูแลที่ต อเนื่อง • ให ความช วยเหลือตามขอบเขตหน าที่ของแต ละหน วยงาน * สถานบริการสาธารณสุข หมายถึง หน วยงานของโรงพยาบาลที่ทําหน าที่ติดต อประสานงานเพื่อการส งต อแม วัยรุ นกับชุมชน

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=