โรคติดต่อนำโดยยุงลาย

18 1.การก�ำจัดท�ำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย: ยุงลายมักอาศัยใกล้ชิดกับคนมากที่สุด และเพาะพันธุ์อยู่บริเวณบ้านเรือนหรือที่พักอาศัย และ แพร่พันธุ์โดยไข่ในภาชนะที่ใส่นํ้านิ่ง ใส ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือ ภาชนะที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง เช่น ถังนํ้า โอ่ง กล่องอาหาร แท็งก์นํ้า ยางรถยนต์ แจกัน เป็นต้น การก�ำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันการการเกิดของยุงลาย 2. การก�ำจัดท�ำลายลูกน�้ำยุงลาย: เมื่อยุงลายเพาะพันธุ์อยู่บริเวณบ้านเรือน หรือที่พักอาศัย และเกิดเป็นลูกน�้ำยุงลาย การก�ำจัดหรือท�ำลาย เป็นวิธีที่จะป้องกันไม่ให้ลูกน�้ำยุงลายเป็นตัวเต็มวัยที่พร้อมจะแพร่เชื้อโรคแก่คน เช่น การใส่ปลา เพื่อกินลูกน�้ำยุงลาย การใช้สารเคมี ทรายทีมีฟอสก�ำจัดลูกนํ้ายุงลาย 3. การก�ำจัดท�ำลายตัวเต็มวัยยุงลาย: เมื่อพบเห็นยุงลายอยู่บริเวณบ้านเรือนหรือที่พักอาศัย วิธีที่ได้ผลดีที่สุด คือ การใช้สารเคมีก�ำจัด เช่น ฉีดสเปรย์ฆ่ายุงลาย หรือการให้เจ้าหน้าที่พ่นสารเคมีท�ำลายยุงลายในบริเวณที่พักอาศัยแล้วปิดหน้าต่าง ประตูบ้าน เพื่อให้สารเคมี ออกฤิทธิ์ในการก�ำจัดยุงลาย 4. การป้องกันตนเอง: การป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด หรือไล่ยุงโดยวิธีธรรมชาติ เป็นวิธีที่ช่วยป้องกันไม่สามารถก�ำจัดยุงลายได้ เช่น สมุนไพรไล่ยุง ยาทากันยุง การปิดประตูหน้าต่างด้วยมุ้งลวด นอนหลับในมุ้ง มุ้งหรือเสื้อผ้าผสมสารเคมีที่สามารถขับไล่ยุงได้ ซึ่งวิธี ที่ดีสุดคือ การก�ำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายไม่ให้ยุงลายมีที่เพาะพันธุ์ 100 วิธี https://ddc.moph.go.th/uploads/ ckeditor/6f4922f45568161a8cdf4ad- 2299f6d23/files/Documents/ Dangue/100.pdf สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ 100 วิธี ปราบยุงลาย

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=