แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี

แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 12 แนวทางการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการและ การเรียนรู้ของเด็กอายุต�่ำกว่า 3 ปี กรมอนามัย 13 • ลักษณะพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย 1. การเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย หมายถึง การเจริญเติบโตที่เกี่ยวกับร่างกายทั้งหมด เด็กวัยนี้มี ส่วนสูงและน�้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่จะขยายออกทางส่วนสูงมากกว่าด้านข้าง กล้ามเนื้อและกระดูก จะเริ่มแข็งแรงขึ้น แต่กล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวยังเจริญไม่เต็มที่การประสานงานของอวัยวะต่างๆ ยังไม่ดีพอ ดังนี้ 5. ลักษณะเด่นของพัฒนาการ แต่ละช่วงของการ เปลี่ยนแปลงตามขั้นตอนของพัฒนาการ ลักษณะบางอย่าง อาจพัฒนาเร็วกว่าลักษณะอื่นและสังเกตเห็นเด่นชัดได้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเป็นปกติ เมื่อเด็กอายุมากขึ้นก็จะ พัฒนาไปตามวุฒิภาวะและจากมวลประสบการณ์ทั้งหลาย ที่ได้รับ 6. ความคาดหวังของพัฒนาการ พัฒนาการมนุษย์เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง มีล�ำดับขั้นตอนและได้ถูกก�ำหนดไว้อย่างแน่นอน จึงสามารถ ท�ำนาย คาดหวังความสามารถและพฤติกรรมตามขั้นพัฒนาการในแต่ละ ช่วงวัยของเด็กอย่างคร่าวๆ ได้ ทั้งนี้ เมื่อเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ ทุกด้านอย่างเหมาะสมตามวุฒิภาวะและความพร้อม พัฒนาการก็สามารถ ด�ำเนินไปด้วยดีสมวัย หากมีอุปสรรคหรือความผิดปกติเกิดขึ้นในช่วงใด ของพัฒนาการ ย่อมส่งผลต่อแบบแผนพัฒนาการขั้นต่อไปให้หยุดชะงัก เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์ปกติและอาจส่งผลระยะยาวไปจนตลอดชีวิตได้ 7. ความเสื่อมของพัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา มีทั้งการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือความสามารถใหม่ๆและ ความเสื่อมหรือการสูญเสียคุณลักษณะหรือความสามารถเดิมบางอย่าง เช่น เด็กสูญเสียฟันน�้ำนมก่อนจึงเกิดฟันแท้เข้ามาแทนที่ เด็กจะพูดเสียง อ้อแอ้ที่ฟังไม่รู้เรื่องก่อนจึงจะพูดชัดเจนขึ้นมาในช่วงบั้นปลายของชีวิตการ เสื่อมมีมากกว่าการพัฒนา 1.1 น�้ำหนักและส่วนสูง ทารกแรกเกิดจะมีน�้ำหนักตัวเฉลี่ยประมาณ 3,000 กรัม ซึ่งจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงปีแรก โดยมีน�้ำหนักตัวเป็น 2 เท่าของ น�้ำหนักแรกเกิดเมื่ออายุ 5 เดือน และประมาณ 3 เท่าของแรกเกิดเมื่ออายุ 1 ปี หลังจากนั้น น�้ำหนักตัวจะเพิ่มเพียงเฉลี่ยปีละ 2-3 กิโลกรัม ส�ำหรับความยาวของ เด็กแรกเกิด โดยเฉลี่ยประมาณ 50 เซนติเมตร และที่อายุ 1 ปี เพิ่มเป็น 1.5 เท่า ของส่วนสูงแรกเกิดหรือประมาณ 75 เซนติเมตร ความสูงและน�้ำหนักจะขึ้นอยู่ กับอาหารและการเลี้ยงดูที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก เช่น การออกก�ำลังกาย การพักผ่อนและการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย 1.2 สัดส่วนของร่างกาย สัดส่วนของร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปคล้ายคลึงกับผู้ใหญ่มากขึ้น ลักษณะหน้าตา แบบทารกจะเริ่มหายไป ศีรษะที่โตประมาณ ¼ ของส่วนสูง เมื่อแรกเกิดจะพัฒนาอย่างช้าๆ ในขณะที่ส่วนอื่นๆ ของร่างกายจะพัฒนาเร็ว ศีรษะจะเริ่มได้สัดส่วนกับล�ำตัวที่ยาวและกว้างขึ้น 1.3 กระดูกและฟัน กระดูกจะเพิ่มความแข็งแรงขึ้น พัฒนาการทางกระดูก ของเด็กผู้หญิงดีกว่าเด็กผู้ชายและประสาทสัมผัสท�ำหน้าที่ได้ดีขึ้น ส่วนฟันน�้ำนม นั้น เริ่มทยอยขึ้นมาในช่องปาก เมื่อเด็กมีอายุประมาณ 6 เดือน จนถึงอายุ 2 ปีครึ่ง จึงมีฟันน�้ำนมขึ้นครบ 20 ซี่ ถ้าไม่มีปัญหาฟันผุในช่วงอายุ 6-12 ปี ฟันน�้ำนมจะค่อยๆ ทยอยหลุดและมีฟันแท้ขึ้นมาแทนที่ การมีฟันน�้ำนมอยู่ครบ วาระและโยกหลุดตามธรรมชาติจะท�ำให้เด็กมีระบบการบดเคี้ยวที่ดี เด็กจึงควร ได้รับการดูแลสุขภาพฟัน เพื่อให้ฟันแท้ที่จะขึ้นมาแทนที่ฟันน�้ำนมอยู่ในต�ำแหน่ง ที่ถูกต้อง 1.4 การใช้กล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหว ระบบการใช้กล้ามเนื้อแขนและขา สามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ตามความต้องการในอิริยาบถต่างๆ มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนไหว เด็กผู้ชายจะมีกล้ามเนื้อใหญ่และแข็งแรง กว่าเด็กผู้หญิง เช่น การกระโดดสูง กระโดดขาเดียว การใช้มือหยิบอาหาร และ การตัดกระดาษ 2. พัฒนาการทางด้านอารมณ์และจิตใจ ห มายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึก จะพัฒนาจากการรับรู้ความรู้สึกทั่วไป ไปสู่ความรู้สึกที่ละเอียดลึกซึ้ง เด็กวัยนี้ มักมีความกลัว อย่างสุดขีด อิจฉาอย่างไม่มีเหตุผล โมโหร้าย การที่เด็กมีอารมณ์เช่นนี้ อาจจะเป็นเพราะเด็กมีประสบการณ์ มากขึ้น เด็กเคยได้รับแต่ความรักความเอาใจใส่จากพ่อแม่และผู้ที่ใกล้ชิด เมื่อต้องพบกับคนนอกบ้าน ซึ่งไม่ สามารถเอาใจใส่เด็กได้เท่าคนในบ้าน เด็กจะรู้สึกขัดใจ เด็กแต่ละคนมีอารมณ์ไม่เหมือนกันทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 1 ปี

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=