การดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้าย (Palliative Care)

การเจ็บป่วย ซึ่งเป็นสิทธิการตายดีตามธรรมชาติ ไม่ใช่ การุณยฆาต ไม่ใช่การเร่งให้ตายเร็วขึ้น พร้อมคุ้มครอง ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขที่ได้ปฏิบัติตาม เจตนาของผู้ป่วยที่ได้ท�ำหนังสือแสดงไว้ ให้ถือว่าการก ระท�ำนั้นไม่เป็นความผิดและให้พ้นจากการรับผิดทั้ง ปวง กฎหมายน่ารู้ ประเทศไทยเรามีกฎหมายเกี่ยวกับ “สิทธิ” เลือก “ตายดี” ในวาระท้ายของชีวิตตาม มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 โดยบุคคลมีสิทธิท�ำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะ รับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายใน วาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจาก สิทธิที่คุณเลือกตัดสินใจและวางแผนดูแลตัวเองในวาระสุดท้ายของชีวิตได้ ด้วยการท�ำหนังสือแสดงเจตนาเพื่อ แสดงความจ�ำนงล่วงหน้าในการเลือกปฏิเสธการรักษาเมื่อถึงวาระสุดท้ายของชีวิต 1. การเขียนหนังสือฯ นี้ ไม่ได้หมายความว่า เมื่อปฏิเสธการรักษาในระยะสุดท้ายของชีวิตแล้ว จะไม่ได้รับ การดูแลจากแพทย์ เพราะแพทย์พยาบาลจะยังคงให้การดูแลรักษาแบบประคับประคอง ไม่ให้เจ็บป่วยทรมาน 2. สามารถเขียนหนังสือฯ ด้วยลายมือ หรือพิมพ์ก็ได้ โดยต้องลงลายมือชื่อผู้ท�ำหนังสือเจตนา และลายมือ ชื่อพยานก�ำกับไว้ด้วย 3. สามรถใช้แบบฟอร์มตัวอย่างที่ส�ำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติจัดท�ำขึ้น หรือจะเขียน หรือพิมพ์ ด้วยตัวเองใหม่ทั้งฉบับก็ได้ (ดาวน์โหลดได้ที่ www.thailivingwill.in.th) 4. ผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไป สามารถท�ำหนังสือฯ ได้ ส่วนผู้ที่มีอายุต�่ำกว่านี้ ควรให้พ่อ แม่ ผู้ปกครองที่ดูแล มีส่วนร่วมในการปรึกษาหารือกับแพทย์ 5. เมื่อเขียนหนังสือฯ เสร็จแล้ว ให้พกติดตัว หรือแจ้งให้โรงพยาบาลที่เข้ารับบริการ หรือบอกลูกหลาน คนใกล้ตัวให้ทราบว่าได้เขียนหนังสือฯ ไว้ 6. หากอยู่ในภาวะซึมเศร้า หรืออาการจิตเวชอื่นๆ ต้องให้จิตแพทย์ประเมินก่อน 7. หนังสือฯ มีได้หลายฉบับ จึงจ�ำเป็นต้องระบุวันที่เขียนไว้ และให้ยึดเอาวันที่ล่าสุดเป็นหลัก 8. เมื่อเขียนหนังสือฯ แล้ว ต่อมาเกิดเปลี่ยนใจก็สามารถยกเลิกได้ภายหลัง ตัวอย่าง การเขียนหนังสือแสดงเจตนา เพื่อแสดงความจ�ำนงล่วงหน้า ในการเลือกปฏิเสธการรักษาของบุคคลต่างๆ ในสังคมไทย มาตรา 12 หนังสือแสดงเจตจ�ำนงค์ก่อนเสียชีวิต 30 • การดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้าย • โรงพยาบาลปทุมธานี

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=