การดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้าย (Palliative Care)

การดูแลผู้ป่วยที่ใกล้เสียชีวิต ความเจ็บปวดจะน้อยลงจนไม่รู้สึก จึงไม่จ�ำเป็นต้องใช้ ยาแก้ปวดอีกต่อไป ผู้ป่วยบางรายที่อาการทรุดมา ตลอด ได้แก่ หลับตลอดเวลา ไม่มีการตอบสนอง แต่ แล้วกลับมาอาการดีขึ้น เช่น รับประทานข้าวได้ พูดจา ได้ ร่างกายดีขึ้นอย่างอัศจรรย์ ในช่วง 1-2 วัน ซึ่งคน โบราณบอกว่า อาการของผู้ป่วยก่อนตายนี้ เป็น สัญญานให้ญาติได้เตรียมการช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้ป่วย ได้ จากไปอย่ างสงบตามธรรมชาติ ไม่พยายาม เหนี่ยวรั้งยื้อชีวิต ด้วยการรักษาต่างๆ ที่จะไปกระตุ้น ให้เกิดความเจ็บปวดทรมาน จนผู้ป่วยไม่อาจตั้งสติให้ อยู่ในความสงบนิ่งได้ ในช่วงวันท้ายๆ ของชีวิต ผู้ป่วยจะมีอาการต่างๆ เช่น รับประทานอาหารและดื่มน�้ำได้น้อยลง จึงไม่ควร คะยั้นคะยอให้รับประทานอาหาร หรือให้น�้ำเกลือและ สอดสายให้อาหาร เพราะจะท�ำให้ทรมานมากขึ้น ผู้ป่วย มักจะมีอาการอ่อนเพลีย ง่วง ซึม ดังนั้นไม่จ�ำเป็นต้อง ให้การพลิกตัว วัดความดัน ใส่สายสวนปัสสาวะ สอด ท่อในคอ หากผู้ป่วยมีเสมหะมาก ควรเลือกวิธีการดูแล ที่รบกวนผู้ป่วยน้อยที่สุด เช่น การใช้ยาลดเสมหะดีกว่า วิธีการดูดเสมหะ เพราะจะท�ำให้ผู้ป่วยทรมานเพิ่มขึ้น เมื่อถึงช่ วงเวลานี้ความเจ็บปวดต่ างๆ จะลดลง เนื่องจากระบบประสาทท�ำงานไม่ดี การรับรู้และ 29 • การดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้าย • โรงพยาบาลปทุมธานี

RkJQdWJsaXNoZXIy NDQyNzM=